1) ประชาธิปไตย : หลากความหมาย หลายรูปแบบ โดย ประจักษ์ ก้องกีรติ สำนักพิมพ์: ศยามปัญญา
2) วิชาสุดท้าย ที่มหาวิทยาลัยไม่ได้สอน ผู้แปล สฤณี อาชวานันทกุล สำนักพิมพ์ openbooks
3) ประชาธิปไตยที่ไม่ตั้งมั่น โดย ดร. จิราภรณ์ ดำจันทร์ สำนักพิมพ์มติชน
4) เสรีนิยมยืนขึ้น โดย ปราบดา หยุ่น สำนักพิมพ์ ไต้ฝุ่น
5) 6 ตุลา ลืมไม่ได้ จำไม่ลง : ว่าด้วย 6 ตุลา 2519 โดย ธงชัย วินิจจะกูล สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน
6) ปีศาจ โดย เสนีย์ เสาวพงศ์ สำนักพิมพ์มติชน
7) 2475 เส้นทางคนแพ้ โดย บัญชร ชวาลศิลป์ สำนักพิมพ์แสงดาว
8) ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี การเมืองไทยภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา 2491-2500 โดย ณัฐพล ใจจริง สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน
9) A Little History of Archaeology หรือ โบราณคดี: ประวัติศาสตร์การขุดค้นอดีตกาลแห่งมวลมนุษย์ โดย Brian Fagan
10) การเมืองภาคประชาชน โดย อุเชนทร์ เชียงเสน สำนักพิมพ์มติชน
11) ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ (ฉบับสมบูรณ์) โดย จิตร ภูมิศักดิ์ สำนักพิมพ์ ไทยควอลิตี้บุ๊คส์
12) ชาติพลาสติก : ความสัมพันธ์ไทย-พม่า ผ่านความเป็นไทย โดย ปวิน ชัชวาลพงศ์พันธ์ สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน
13) หลัง 6 ตุลาฯ : ว่าด้วยความขัดแย้งทางความคิดระหว่างขบวนการนักศึกษากับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย โดย ธิกานต์ ศรีนารา สำนักพิมพ์: ศยามปัญญา
เธอ โพสต์ข้อความตอนหนึ่งว่า “เริ่มรู้จัก 14 และ 6 ตุลา เอาจริงก็ตอนเรียนจบ เพราะไม่เคยรู้เรื่องนี้ในหนังสือเรียนเลย มารู้เรื่องมากขึ้นก็ตอนมี google และตามหาหนังสือที่เกี่ยวข้องมาอ่าน และเรียนรู้จนถึงวันนี้ ก็ยังหาคำตอบตอนจบไม่ได้ ศรัทธา-ผู้ใหญ่และอาจารย์หลายท่านที่ยังคงยึดมั่นในอุดมการณ์ แปลกใจ-ผู้ใหญ่ที่อยู่ในเหตุการณ์นั้น อุดมการณ์เปลี่ยนไป สงสัย-ทำไมเหตุการณ์นี้ ถึงไม่ถูกหยิบมาพูดในที่สาธารณะและทำให้จบ ในกระบวนการ ข้องใจ-ว่าทำไมถึงพยายามทำให้เหตุการณ์นี้ถูกลืม มีคำถาม-ว่าทำไมเหตุการณ์นี้ถึงไม่มีในแบบเรียน”